Stakeholder Needs Analysis การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการภายใต้ B.O.E. Project (Bangkok University Outcome-Based Education) เรื่อง Stakeholder Needs Analysis การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดย ผศ. ดร. ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ เป็นวิทยากรให้ความรู้และแชร์กระบวนการขั้นตอนในการคิด วิเคราะห์ผ่านกิจกรรมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบหลักสูตรตามแนวคิดการจัดการศึกษาเชิงผลลัพธ์ (Outcome-Based Education) เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 กันยายน 2565

ความรู้เบื้องต้นทางด้านบัญชีธุรกิจบริการ -หมวดบัญชี ความหมาย การวิเคราะห์ความสัมพันธ์

เรียนพื้นฐานการแนวคิดและความเป็นมาของวิชาชีพบัญชี ความหมาย วัตถุประสงค์ ประโยชน์ของข้อมูลทางการบัญชี รวมถึงหลักการและวิธีการบันทึกบัญชีตามหลักการบัญชีคู่ การบันทึกบัญชีตามวงจรบัญชี กระบวนการทางบัญชี การจัดทำและนำเสนอรายงานทางการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินและข้อกำหนดทางกฎหมาย

ความรู้เบื้องต้นทางด้านบัญชีธุรกิจบริการ – งบแสดงฐานะการเงิน และงบกำไรขาดทุน

เรียนพื้นฐานการแนวคิดและความเป็นมาของวิชาชีพบัญชี ความหมาย วัตถุประสงค์ ประโยชน์ของข้อมูลทางการบัญชี รวมถึงหลักการและวิธีการบันทึกบัญชีตามหลักการบัญชีคู่ การบันทึกบัญชีตามวงจรบัญชี กระบวนการทางบัญชี การจัดทำและนำเสนอรายงานทางการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินและข้อกำหนดทางกฎหมาย

ความรู้เบื้องต้นในการจัดตั้งธุรกิจ – รูปแบบการจดทะเบียนธุรกิจ เจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นส่วน บริษัทจำกัด

ธุรกิจแต่ละแห่งอาจจะมีแหล่งที่มาของรายได้จากหลากหลายช่องทางหรือมีผลิตภัณฑ์หรือการให้บริการหลายชนิดพร้อมกัน ในบทเรียนนี้จะได้อธิบายถึงเหตุการณ์กรณีที่มีผลิตภัณฑ์หรือการให้บริการหลายชนิดและอาจต้องการยกเลิกผลิตภัณฑ์หรือบริการอย่างใดอย่างหนึ่ง ธุรกิจควรพิจารณาอย่างไรหากเกิดเหตุการณ์เช่นนั้น

ความรู้เบื้องต้นในการจัดตั้งธุรกิจ – ธุรกิจบริการ ธุรกิจพาณิชยกรรม ธุรกิจผลิตสินค้าเพื่อขาย

ธุรกิจแต่ละแห่งอาจจะมีแหล่งที่มาของรายได้จากหลากหลายช่องทางหรือมีผลิตภัณฑ์หรือการให้บริการหลายชนิดพร้อมกัน ในบทเรียนนี้จะได้อธิบายถึงเหตุการณ์กรณีที่มีผลิตภัณฑ์หรือการให้บริการหลายชนิดและอาจต้องการยกเลิกผลิตภัณฑ์หรือบริการอย่างใดอย่างหนึ่ง ธุรกิจควรพิจารณาอย่างไรหากเกิดเหตุการณ์เช่นนั้น

ความรู้เบื้องต้นในการจัดตั้งธุรกิจ – การจัดทำบัญชีสำหรับธุรกิจประเภทต่าง ๆ

ธุรกิจแต่ละแห่งอาจจะมีแหล่งที่มาของรายได้จากหลากหลายช่องทางหรือมีผลิตภัณฑ์หรือการให้บริการหลายชนิดพร้อมกัน ในบทเรียนนี้จะได้อธิบายถึงเหตุการณ์กรณีที่มีผลิตภัณฑ์หรือการให้บริการหลายชนิดและอาจต้องการยกเลิกผลิตภัณฑ์หรือบริการอย่างใดอย่างหนึ่ง ธุรกิจควรพิจารณาอย่างไรหากเกิดเหตุการณ์เช่นนั้น

ความรู้เบื้องต้นในการจัดตั้งธุรกิจ – เหตุผลที่ต้องมีการจัดทำบัญชี

ธุรกิจแต่ละแห่งอาจจะมีแหล่งที่มาของรายได้จากหลากหลายช่องทางหรือมีผลิตภัณฑ์หรือการให้บริการหลายชนิดพร้อมกัน ในบทเรียนนี้จะได้อธิบายถึงเหตุการณ์กรณีที่มีผลิตภัณฑ์หรือการให้บริการหลายชนิดและอาจต้องการยกเลิกผลิตภัณฑ์หรือบริการอย่างใดอย่างหนึ่ง ธุรกิจควรพิจารณาอย่างไรหากเกิดเหตุการณ์เช่นนั้น

วิเคราะห์เป็นก็นำไปใช้ประโยชน์

เมื่อทำความรู้จักงบการเงิน ทำความรู้จักกับเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์งบการเงิน รวมถึงได้ลองทำการวิเคราะห์งบการเงินจริงและทำการเขียนผลการวิเคราะห์แล้วนั้น ในบทนี้ จะนำผลการวิเคราะห์ในแต่ละเครื่องมือไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือผู้ใช้งบการเงิน ประเภทของผู้ใช้งบการเงิน รวมถึงสิ่งเล็กน้อยที่อาจจะถูกหลงลืมไปจนก่อให้เกิดผลเกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยกล่าวถึงหัวข้อใหญ่ตามหมวดบัญชี 5 หมวด ดังนี้ 1. สินทรัพย์ 2. หนี้สิน 3. ทุน 4. รายได้ 5. ค่าใช้จ่าย ตลอดจนสิ่งที่สำคัญที่สุดของการทำธุรกิจคือ การสร้างกำไรหรือผลตอบแทนให้แก่ผู้ถือหุ้นให้ได้มากที่สุดอย่างยั่งยืน กิจกรรมต่างๆในงบการเงิน และสุดท้าย คือ หมายเหตุประกอบงบการเงิน ที่บอกรายละเอียดทั้งหมดของกิจการ คณะบัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ …

วิเคราะห์งบการเงิน

บท “วิเคราะห์งบการเงิน” เป็นบทที่ต่อจากการทำความรู้จักเครื่องมือต่างๆเป็นที่เรียบร้อย ในบทนี้ จึงเป็นบทที่พาผู้เรียนทำการวิเคราะห์งบการเงินตัวอย่างไปพร้อมกัน เพื่อสร้างความเข้าใจในแต่ละเครื่องมือและผลลัพธ์ที่ได้ของแต่ละเครื่องมือที่แตกต่างกัน รวมถึงการเขียนผลการวิเคราะห์งบการเงินเบื้องต้น เพื่อที่จะสามารถนำไปเสนอต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้เข้าใจได้ง่ายมากยิ่งขึ้นและนำผลไปใช้ประโยชน์ต่อไป คณะบัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จึงได้จัดทำวีดีโอสื่อการสอน “วิเคราะห์งบการเงิน” ให้สำหรับครู อาจารย์และผู้สนใจทั่วไป สามารถทำการวิเคราะห์งบการเงินในแต่ละเครื่องมือหรือวิธีต่างๆได้อย่างถูกต้อง และนำเสนอต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อไป

เครื่องมือสำคัญ ช่วยให้วิเคราะห์งบการเงินได้ง่ายขึ้น

ในบทนี้จะมองถึงความแตกต่างและจุดประสงค์ของแต่ละเครื่องมือที่จะถูกนำมาช่วยในการวิเคราะห์งบการเงิน รวมถึงความเหมาะสมของแต่ละเครื่องมือกับข้อมูลที่ผู้ใช้งบการเงินต้องการที่จะได้จากงบการเงิน โดยประกอบด้วยกันทั้งหมด 3 วิธี ดังนี้ 1. การวิเคราะห์โดยวิธีย่อส่วนตามแนวดิ่ง (Vertical Analysis) 2. การวิเคราะห์โดยวิธีอัตราร้อยละของแนวโน้ม (Trend Percentage Analysis) 3. การวิเคราะห์โดยวิธีอัตราส่วนทางการเงิน (Financial Ratio Analysis) คณะบัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จึงได้จัดทำวีดีโอสื่อการสอน “เครื่องมือสำคัญ ช่วยให้วิเคราะห์งบการเงินได้ง่ายขึ้น” ให้สำหรับครู อาจารย์และผู้สนใจทั่วไป รู้จักและสามารถใช้เครื่องมือแต่ละอันในการวิเคราะห์งบการเงินได้