การอบรมเรื่อง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ CLO Together หัวข้อ การออกแบบ CLO กับการนำไปใช้ โดย อ. อรรถสิทธิ์ ชวนพิพัฒน์พงศ์ ผู้อำนวยการสถาบันภาษา ดร. วริษษา ชะม้อย สำนักมาตรฐานคุณภาพการศึกษา และผศ. ดร. วีรพงษ์ พวงเล็ก หัวหน้าภาควิชาการโฆษณาและรักษาการหัวหน้าภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ ผู้ดำเนินรายการ เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2566 จัดโดย แผนกการจัดการเรียนรู้และนิทรรศการ สำนักหอสมุดและพื้นที่การเรียนรู้
ในกระบวนการออกแบบ CLO (Course Learning Outcome) เพื่อนำไปใช้ในการเรียนการสอนนั้น ผู้สอนจะต้องมีข้อมูลอะไรบ้าง มาเป็นส่วนประกอบในขั้นตอนของการออกแบบ เมื่อมี PLO ของหลักสูตรเป็นตัวตั้งแล้ว ต้องมี Course description และต้องใช้องค์ประกอบหลักของการเขียน CLO ได้แก่ Stem / Action Verbs / Learning Statement / Qualifying Phrase นอกจากนี้คำนึงถึง 5 DNA ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพซึ่งเป็นคุณลักษณะเฉพาะ ได้แก่ Creativity, Curiosity, Collaboration, Street Smart และ Passion และการออกแบบโดยใช้หลักการ SMART ได้แก่ S-Specific / M-Measurable / A-Archievable/ R-Relevant / T-Time-bound
ข้อมูลในส่วนนี้สงวนสิทธิ์ไว้เฉพาะบุคลากรมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
กรุณากรอก Username ของท่าน โดยไม่ต้องตามด้วย @bumail.net หรือ @bu.ac.th
Sign in with your BU email without @bumail.net or @bu.ac.th